News
ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาเรียกร้องให้ระบบการเรียนการสอนมีความสอดคล้อง เสมอภาค และยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้นเพื่อเยาวชนและนักเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา ผู้กำหนดนโยบาย และผู้นำเยาวชนรวมกว่า 250 คนเรียกร้องให้ความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ณ การประชุมวิชาการนานาชาติเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ครั้งที่ 3 ซึ่งจัดขึ้นโดยยูเนสโกและกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เมื่อวันที่ 18-19 ตุลาคม ที่จังหวัดนนทบุรี
ประเึϹȨลักใȨาระการประชุม ได้แก่ การปรับโอกาสการเรียนรู้ให้หมาะสมกับทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นฐานแบบใด การสร้างจินตภาพใหม่สำหรับหลักสูตรที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวันมากขึ้น ความจำเป็นในการเพิ่มการลงทุนด้านการศึกษาเพื่อปรับปรุงคุณภาพผู้สอน สื่อการเรียน และแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนการกระจายอำนาจระบบการศึกษาเพื่อให้ตอบสนองต่อบริบทของท้องถิ่นได้ดีกว่าเดิม
หัวข้อของการประชุมในปีนี้ "จินตภาพใหม่การศึกษา ร่วมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อเยาวชนและประชากรวัยแรงงาน" ยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นของการพัฒนาทักษะที่ครอบคลุมและความร่วมมือระหว่างประเทศที่แน่นแฟ้นมากขึ้น
นางมารีนา ปาทรีเย รองผู้อำนวยการ สำนักงานยูเนสโกส่วนภูมิภาค ณ กรุงเทพฯ กล่าวในพิธีเปิดถึงความสำคัญของการใช้แนวทางที่ครอบคลุมทุกภาคส่วนของสังคม เพื่อสร้างระบบการเรียนรู้ที่มีความเสมอภาคมากยิ่งขึ้นและทำให้การเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นสิ่งที่สามารถเข้าถึงได้อย่างแพร่หลาย โดยกล่าวว่า “ในโลกที่เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นสิ่งจำเป็น”&Բ;พร้อมทั้งชี้ให้เห็Ȩึงความสำคัญྺองข้อเสนอแȨของครูในการพัฒȨȨยบายชิงนวัตกรรม
นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวถึงความสำคัญྺองความร่วมมือระดับภูมิภาคเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกัน พร้อมทั้งตอกย้ำถึงความมุ่งมั่นของประทศไทยต่อวาระความสมอภาคทางการศึกษาใȨูมิภาค
การประชุมยังȨȨารมีส่วนร่วมของเยาวชȨȨานะองค์ประกอบสำคัญของการพัոาหลักสูตรที่ก้าวหน้า นางสาวนูรฮายาตี สุลตาน ผู้ร่วมก่อตั้งและผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมเยาวชนและความรู้ด้านดิจิทัล Rohingya Maìyafuìnor Collaborative Network กล่าวว่า ผู้ลี้ภัยตกหล่นอยู่นอกระบบการศึกษา และเรียกร้องให้พวกเขามีสิทธิในการเข้าถึงการศึกษา นอกจากนี้ นางสาวนดา บินร่อหีม ประธานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย พูดถึงความท้าทายที่เฉพาะเจาะจงสำหรับเยาวชนจากชุมชนผู้ย้ายถิ่นและชุมชนยากจนในจังหวัดปัตตานี โดยเสนอให้ผู้กำหนดนโยบายการศึกษาทำงานร่วมกับชุมชนเหล่านี้
นางเซเวอรีน เลโอนาร์ดี รองผู้แทนองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย กล่าวสนับสนุนให้เยาวชนมีส่วนร่วมและเสนอประเด็นเชิงนโยบายที่สำคัญ เช่น การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้จากสื่อดิจิทัลที่ครอบคลุม การลงทุนสนับสนุนพัฒนาการของเด็กปฐมวัย หลักสูตรที่เน้นทักษะ และการเสริมความเข้มแข็งให้กับการอบรมพัฒนาครู
นายจอห์น อาโนลด์ เซียนา รองผู้อำนวยการสำนักงานเลขาธิการองค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAMEO) ึϹานการพัฒȨโครงการและกิจกรรม เน้นย้ำว่า การลงทุนในด้านการศึกษาควรให้ความสำคัญกับความเสมอภาค โดยตั้งྺ้อสังเกตว่า “การใช้ทคโนโลยีสามารถยกระึϸบการข้าถึงการศึกษาให้กับึϹกที่ขาึϹอกาสได้อย่างมีȨยสำคัญ”
บทบาทของเทคโนโลยีในการยกระดับผลลัพธ์ของโครงการเป็นประเด็นสำคัญในคำกล่าวของนายจาฮโย ปรีฮาดี ผู้อำนวยการฝ่ายติดตามและประเมินผล Programme Management Office of Prakerja กระทรวงการประสานงาȨ้าȨศรษฐกิจྺองสาธารณรัฐอินโดȨซีย
ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า “การประชุมครั้งȨ้ถือป็Ȩ้าวสำคัญของการส่งเสริมความสมอภาคทางการศึกษาĝ
การประชุมครั้งȨ้ถือป็Ȩรั้งที่&Բ;3 นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2564 รายงานฉบับสมบูรณ์ྺองการประชุมจะนำออกผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์การประชุมที่&Բ; ในปลายปีȨ้
#EquitableEducation #LifelongLearning
เกี่ยวกับพันธมิตรเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (EEA)
EEA ก่อตั้งขึ้นโดยสำนักงานยูเนสโกส่วนภูมิภาค ณ กรุงเทพฯ (ยูเนสโก กรุงเทพฯ) และกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ในปีพ.ศ. 2563 ในช่วงวิกฤตการระบาึϾองโควิด-19 โดยมีเป้าหมายให้รัฐบาล ภาคประชาสังคม และพันธมิตรภาคเอกชนมารวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหาลดช่องว่างความไม่เสมอภาคทางการศึกษา และร่วมกันสนับสนุนระบบการศึกษาที่ครอบคลุมมากขึ้นในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปัจจุบัน EEA ประกอบึϹวย&Բ;19 ประเทศ และ 23 องค์กรในระึϸบภูมิภาค
กี่ยวกับการประชุมวิชาการȨȨชาติพื่อความสมอภาคทางการศึกษา
การประชุมวิชาการนานาชาติเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ครั้งที่ 3 จัดโดยยูเนสโก กรุงเทพฯ และ กสศ. ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ กลุ่มพันธมิตรเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (EEA) องค์การยูนิเซฟ สำนักงานภาคพื้นภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย และองค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAMEO) ภาคีอื่นของการประชุมนี้ประกอบด้วย กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และกีฬา กัมพูชา สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) ประจำภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก สถาบันการเรียนรู้ตลอดชีวิตแห่งชาติ สาธารณรัฐเกาหลี Programme Management Office of Prakerja กระทรวงการประสานงานด้านเศรษฐกิจ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สมาคมการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาผู้ใหญ่แห่งภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกใต้ และรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่ afeconference(at)eef.or.th